EAED2203Mathematical Provision for Early Childhood การจัดประสบการณ์คณิตศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันจันทร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2563
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่15
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่15
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่15
วันพุธที่15เมษายนพ.ศ.2563
เวลาเรียน08:00-12:30น.
เนื้อหารายวิชา
วันนี้อาจารย์ก็เข้าเรื่องแผนการจัดประสบการณ์สอนว่าต้องแก้ไขอย่างไรเนื่องจากพวกเรายังไม่ค่อยเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนแผนการจัดประสบการร์เท่าไหร่อาจารย์ก็มาอธิบายเพิ่มเติมว่าขั้นตอนแรกต้องทำอย่างไร
ประเมิน
อาจารย์ อธิบายพร้อมยกตัวอย่างให้นักศึกษาเห็นและเข้าใจได้อย่างชัดเจนตนเอง ตั้งใจฟังอาจารย์เนื่องจากยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับการเขียนแผนสักเท่าไหร่ัเพื่อน ให้ความร่วมมือในการเรียนการสอน
คำศัพท์
1. bike:จักรยาน2. banana:กล้วย3. egg:ไข่4. butterfly:ผีเสื้อ5. rice:ข้าว
วันพุธที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2563
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่14
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่14
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่14
วันพุธที่8เมษายนพ.ศ.2563
เวลาเรียน08:00-12:30น.
เนื้อหาสาระ
วันนี้เรียนเกี่ยวกับการจัดประสการณ์การเรียนรูทางคณิตศาสตร์อาจาย์ก็ได้ออกมาพูดให้แก้ไขเพิ่มเติมทำให้สมบรูณ์โดยการเพิ่มมายแมพแมงมุมเข้าไปในแต่ละวันเราจัดประสบการสอนเรื่องใดบ้าง
มีการเรียนลำดับทำให้สอดคล้องกับแผนการจัดประการณ์ที่เราทำ
วันจัทร์ขั้นนำก็จะทำการร้องเพลงการนับจำนวนผีเสื้อ
วันอังคารเกมจับคู่ความแตกต่างของผีเสื้อ
วันพุธจะสอนเรื่องปริศนาคำทาย
วันพฤหัสบดีสอนเรื่องนิทาน
เพลงเก็บเด็ก
ประเมิน
อาจารย์ สอนอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจง่ายพร้องถามเพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วม
ตนเอง ตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์พูดอาจจะไม่เข้าใจนักแต่ก็พยายามปรับปรุงและหาความรู้เพิ่มเติม
เพื่อน ตั้งใจฟังและให้ความร่วมมือในการตอบคำถาม
คำศัพท์
1.monday วันจันทร์
2.tuesday วันอังคาร
3.wednesday วันพุธ
4.thursday วันพฤหัสบดี
5.friday ันศุกร์
วันอังคารที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2563
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่13
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่13
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่13
วันพุธที่1เมษายนพ.ศ.2563
เวลาเรียน08:00-12:30น.
เนื้อหาสาระ
วันนี้เรียนเรื่องเทคนิคการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์
จะประกอบไปด้วย
-นิทาน
-เพลง
-เกม
-คำคล้องจอง
-ปริศนาคำทาย
-บทบาทสมมุติ
-แผนภูมิภาพ
-การประกอบอาหาร
สาระและมาตราฐานการเรียนรู้
สาระที่1 จำนวนและการดำเนินการสาระที่2 การวัด
สาระที่3 เรขาคณิต
สาระที่4 พีชคณิต
สารที่5 การวิเคาระห์ข้อมุลและความน่าจะเป็น
สาระที่6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ตัวอย่างการสอน
คำถามก่อนเรียน
ประเมิน
อาจารย์ อาจารย์สอนอธิบายให้เข้าใจง่ายมีการถามตอบพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
ตนเอง ให้ความร่วมมือในการเรียนและตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์พุด
เพื่อน ตั้งใจฟังสิ่งที่อาจารย์สอและตอบทุกครั้งที่อาจารย์ถาม
คำศัพท์
1.role บทบาท
2.puzzle ปริศนา
3.game เกม
4.question คำถาม
5.calendar ปฎิทิน
วันจันทร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2563
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่12
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่12
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่12
วันพุธที่25มีนาคมพ.ศ.2563
เวลาเรียน08:00-12:30น.
เนื้อหารายวิชา
แผนการจัดประสบการณ์หน่วย เรื่อง ผีเสื้อแสนสวย สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวสุจิตรา
จันทรขอนแก่น เลขที่4 2.นางสาวชาฎาพร
วิชาผา เลขที่10 3.นางสาววรินทร
ต้นโศก เลขที่15 4.นางสาวพลอยไพลิน
ขวัญเมือง เลขที่21 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
หลังการจัดประสบการณ์หน่วยเรื่อง
ผีเสื้อ เด็ดเกิดการเรียนรู้ดังนี้
เด็กได้เรียนรู้และรู้จักชื่อของผีเสื้อชนิดของผีเสื้อว่ามีความแตกต่างกันอย่างไรและการดำรงชีวิตของผีเสื้อ
ประโยชน์และโทษของผีเสื้อ
สาระที่การเรียนรู้
(เนื้อหา)
ชื่อของผีเสื้อ
มีผีเสื้อกลางวันกลางคืน ผีเสื้อกลางวัน เช่น ผีเสื้อหนอนใบรักลายเสือ
ผีเสื้อนางพญา ผีเสื้อกลาสี ฯ
ผีเสื้อกลางคืน เช่น
ผีเสื้อหนอนไหมอีรีย์ ผีเสื้อทองเฉียงพร้า
ผีเสื้อมอธมหากาฬลายขีด และชนิดของผีเสื้อ 2
ชนิดที่ยกตัวอย่างในการสังเกตว่ามีความเหมือนหรือความแตกต่างกันอย่างไร
วิธีการดำรงชีวิตของผีเสื้อ ประโยชน์และโทษของผีเสื้อว่าเป็นอย่างไรบ้าง
แนวคิด
เด็กได้เรียนรู้ชื่อของผีเสื้อผ่านบทเพลง
และมีทักษะการคิดแยกแยะความแตกต่างระหว่างผีเสื้อ 2 ชนิดนอกจากนี้ยังได้เรียนรู้การดำรงชีวิตของผีเสื้อในเกมปริศนาคำทาย
โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 และยังได้รู้จักประโยชน์และโทษของผีเสื้อ
ด้านร่างกาย
|
ด้านอารมณ์-จิตใจ
|
ด้านสังคม
|
ด้านสติปัญญา
|
1.การเคลื่อไหวเคลื่อนที่
2.การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยกิจวัตรประจำวัน
|
1.การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆตามความสามารถ
2. .การเคลื่อนไหวตามจังหวะเพลง
3.พูดสะท้อนความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น
4.เด็กสามารถทำท่าทางและจิตนาการตามได้
|
1.การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
2.เด็กร่วมทำกิจกรรมกับผู้อื่นได้
3.การร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
|
1.การรับรู้และแสดงความคิดเห็นรู้สึกผ่านสื่อ
วัสดุ ของเล่นและชิ้นงาน
2.ตั้งคำถามในเรื่องที่สนใจ
3.การสังเกตสิ่งต่างๆและสถานที่จากมุมมองที่ต่างกัน
4.พูดแสดงความความคิดเห็นความรู้สึก
5.เด็กสามารถคาดเดาความเปลี่ยนแปลงได้
6.การสังเกตตัวอักษรที่ประกอบเป็นคำผ่านการอ่านหรือการเขียนของผู้ใหญ่
7.การฟังนิทานเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ
8.การบอกและเรียงลำดับกิจกรรมตามช่วงเวลา
9.การมีส่วนร่วมในการลงความคิดเห็นในข้อมูลอย่างเหตุผล
|
กรอบพัฒนาการและกิจกรรม
ด้านสังคม
1.พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ให้แข็งแรง
2.รักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น
ด้านอารมณ์-จิตใจ
1.กล้าพูดกล้าแสดงออก
2.สนใจมีความสุขและแสดงออกทางเสียงเพลง
3.เด็กมีความสนใจมีความสุขและเคลื่อนไหวประกอบเพลง
ด้านสังคม
1.การร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น
2.การปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกันได้
3.การปฏิบัติเป็นผู้ทำตามคำแนะนำ
ด้านสติปัญญา
1.เด็กสนทนาโต้ตอบด้วยบทสนทนาสั้นๆ
2.เด็กร่วมกิจกรรมด้วยความสนใจระยะสั้นๆ
3.เด็กแสดงท่าทางตามคำสั่ง
4.การเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ
หน่วยเรื่อง
ผีเสื้อแสนสวย
คณิตศาสตร์
1.จำแนกประเภทของผีเสื้อ
2.เรียงลำดับสัมพันธ์การดำลงชีวิตของผีเสื้อ
3.การเปรียบเทียบความแตกต่างของผีเสื้อ
4.การนับจำนวนของผีเสื้อเป็นเลขฮินดูอารบิก
วิทยาศาสตร์
1.วัฏจักรของผีเสื้อ
สังคมศึกษา
1.การมีส่วนในกิจกรรมต่างๆ
พลศึกษา/สุขศึกษา
1.การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย
ศิลปะสร้างสรรค์
(กิจกรรมพิเศษ)
1.การเล่านิทาน
2.การร้องเพลง
ภาษา
1.การพูดสื่อสารหน้าชั้นเรียน
2.ร้องเพลง
3.ฟังนิทาน
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นอนุบาล3 กิจกรรมเสริมประสบการณ์
คณิตศาสตร์
1.จำแนกประเภทของผีเสื้อ
2.เรียงลำดับสัมพันธ์การดำลงชีวิตของผีเสื้อ
3.การเปรียบเทียบความแตกต่างของผีเสื้อ
4.การนับจำนวนของผีเสื้อเป็นเลขฮินดูอารบิก
วิทยาศาสตร์
1.วัฏจักรของผีเสื้อ
สังคมศึกษา
1.การมีส่วนในกิจกรรมต่างๆ
พลศึกษา/สุขศึกษา
1.การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย
ศิลปะสร้างสรรค์
(กิจกรรมพิเศษ)
1.การเล่านิทาน
2.การร้องเพลง
ภาษา
1.การพูดสื่อสารหน้าชั้นเรียน
2.ร้องเพลง
3.ฟังนิทาน
วัตถุประสงค์
|
สาระการเรียนรู้
|
กิจกรรมการเรียนรู้
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
|
การวัดและประเมินผล
|
การบูรณาการ
|
|
สาระที่ควรเรียนรู้
|
ประสบการณ์สำคัญ
|
|||||
1.เด็กทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
|
เด็กสามารถบอกชื่อของผีเสื้อได้
|
ด้านร่างกาย
1.การเคลื่อไหวเคลื่อนที่
2.การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยกิจวัตรประจำวัน
|
ขั้นนำ
1.ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลงผีเสื้อ
|
1.ภาพถ่าย
2.ชาร์ตเพลง
|
1.สังเกตการเด็กสามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
|
1.คณิตศาสตร์
-การนับจำนวน
|
2.เด็กบอกจำนวนผีเสื้อได้
|
|
ด้านจิตใจ-อารมณ์
1.การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆตามความสามารถ
2. .การเคลื่อนไหวตามจังหวะเพลง
|
ขั้นดำเนินกิจกรรม
1.นำสื่อรูปผีเสื้อให้เด็กดู
2.สนทนาถามความรู้เดิมเกี่ยวกับเกี่ยวผีเสื้อ
โดยบูรณาการทางคณิตศาสตร์ให้เด็กได้แยกประเภทของผีเสื้อและบอกจำนวนผีเสื้อดังนี้
-นับสีแยกออกแล้วตัวสุดท้ายให้แทนค่า
เป็นตัวเลข
-ตัวที่แยกเป็น2ฝั่งแล้วให้นำมาบวกหรือลบกันก็ได้
|
|
2.สังเกตการเด็กบอกจำนวนผีเสื้อได้
|
|
3.เด็กแทนค่าเป็นตัวเลขได้
|
|
ด้านสังคม
1.การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
ด้านสติปัญญา
1.การรับรู้และแสดงความคิดเห็นรู้สึกผ่านสื่อ
วัสดุ ของเล่นและชิ้นงาน
2.ตั้งคำถามในเรื่องที่สนใจ
|
ขั้นสรุป
1.ครูและเด็กร่วมกันสนทนาการเปรียบเทียบจำนวนมากกว่าน้อยกว่า
|
|
3.สังเกตการเด็กสามารถแทนค่าเป็นตัวเลขได้
|
|
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นอนุบาล3กิจกรรมเสริมประสบการณ์
วัตถุประสงค์
|
สาระการเรียนรู้
|
กิจกรรมการเรียนรู้
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
|
การวัดและประเมินผล
|
การบูรณาการ
|
||||
สาระที่ควรเรียนรู้
|
ประสบการณ์สำคัญ
|
||||||||
1.เด็กบอกลักษณะของผีเสื้อได้
|
ผีเสื้อมี 2 ประเภทแต่ละประเภทแตกต่างกันดังเสื้อนี้
1.ผีเสื้อกลางคืน
ผีเสื้อหนอนไหมอีรีย์
2.ผีเสื้อกลางวัน
ผีเสื้อกลาสี
|
ด้านร่างกาย
1.การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยกิจวัตรประจำวัน
|
ขั้นนำ
1.ครูและเด็กร่วมกันสนทนาความแตกต่าง
ผีเสื้อกลางวัน และผีเสื้อกลางคืน
|
1.บัตรภาพ
2.ชาร์ตลักษณะของผีเสื้อ
|
1.สังเกตการเด็กบอกลักษณะของผีเสื้อได้
|
1.คณิตศาสตร์
-การวิเคราะห์ข้อมูลความน่าจะเป็น
|
|||
2.เด็กสนทนาโต้ตอบร่วมกับผู้อื่นได้
|
|
ด้านอารมณ์-จิตใจ
1.พูดสะท้อนความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น
|
ขั้นดำเนินการ
1.ครูนำภาพผีเสื้อกลางวันและผีเสื้อกลางคืนให้เด็กดู
2.ครูและเด็กร่วมกันบันทึกภาพผีเสื้อกลางวันและผีเสื้อกลางคืนที่แตกต่างกัน
ดังนี้
|
|
2.สังเกตการเด็กสนทนาโต้ตอบร่วมกับผู้อื่นได้
|
|
|||
3.เด็กสามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
|
|
ด้านสังคม
1.การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม
ด้านสติปัญญา
1.การสังเกตสิ่งต่างๆและสถานที่จากมุมมองที่ต่างกัน
2.พูดแสดงความความคิดเห็นความรู้สึก
3.การสังเกตลักษณะ
ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพนธ์ของสิ่งต่างๆโดยใช้ประสาทสัทผัสอย่างเหมาะสม
|
ขั้นสรุป
1.ครูและเด็กร่วมกันสรุปความแตกต่างของผีเสื้อกลางวันและผีเสื้อกลางคืน
|
|
3.สังเกตการเด็กสทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
|
|
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นอนุบาล3กิจกรรมเสริมประสบการณ์
วัตถุประสงค์
|
สาระการเรียนรู้
|
กิจกรรมการเรียนรู้
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
|
การวัดและประเมินผล
|
การบูรณาการ
|
|
สาระที่ควรเรียนรู้
|
ประสบการณ์สำคัญ
|
|||||
1.เด็กอธิบายการเติบโตของผี้สื้อได้
|
การบอกวัฏจักรของผีเสื้อ
|
ด้านร่างกาย
1.การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยกิจวัตรประจำวัน
|
ขั้นนำ
1.ครูตั้งคำถามปริศนาคำทายเกี่ยวกับวงจรของผีเสื้อ
ดังนี้
1.อะไรเอ่ยตัวเล็กนิดเดียวบินไปบินมาชอบกินน้ำหวาน?
2.อะไรเอ่ยชื่อน่ากลัวตัวน่ารักได้รับฉายาว่าราชินีแห่งแมลง?
|
1.ภาพถ่าย
2.บัตรคำปริศนาคำทาย
|
1.สังเกตการเด็กสามารถอธิบายการเติบโตของผี้สื้อได้
|
1.คณิตศาสตร์
-พีชคณิต
|
2.เด็กสนทนาร่วมกับเพื่อนได้
|
|
ด้านอารมณ์-จิตใจ
1.เด็กสามารถทำท่าทางและจิตนาการตามได้
|
ขั้นดำเนินการ
1.นำสื่อบัตรคำปริศนาคำทายให้เด็กดูแล้วให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
2.สนทนาเกี่ยวกับวัฏจักรผีเสื้อโดยเรียงลำดับจาก
ไข่ หนอน ดักเด้ และผีเสื้อ นำบัตรภาพให้เด็กดู
3.เด็กอาสาออกมาอภิปราย
เกี่ยวกับวัฏจักรของผีเสื้อ
|
|
2.สังเกตการเด็กสามารถสนทนาร่วมกับเพื่อนได้
|
|
3.เด็กเรียงลำดับของวัฏจักรของผีเสื้อได้
|
|
ด้านสังคม
1.เด็กร่วมทำกิจกรรมกับผู้อื่นได้
2.ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
|
ขั้นสรุป
1.เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงวัฏจักรผีเสื้อ
|
|
3.สังเกตการเด็กสามารถเรียงลำดับของวัฏจักรของผีเสื้อได้
|
|
|
|
ด้านสติปัญญา
1.เด็กสามารถคาดเดาความเปลี่ยนแปลงได้
2.การสังเกตตัวอักษรที่ประกอบเป็นคำผ่านการอ่านหรือการเขียนของผู้ใหญ่
|
|
|
|
|
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นกิจกรรม เสริมประสบการณ์
วัตถุประสงค์
|
สาระการเรียนรู้
|
กิจกรรมการเรียนรู้
|
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
|
การวัดและประเมินผล
|
การบูรณาการ
|
|
สาระที่ควรเรียนรู้
|
ประสบการณ์สำคัญ
|
|||||
1.เด็กบอกประโยชน์ของผีเสื้อได้
|
เล่านิทานเกี่ยวกับโทษและประโยชน์ของผีเสื้อ
|
ด้านร่างกาย
1.การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
|
ขั้นนำ
1.ครูเล่านิทานประโยชน์และโทษของผีเสื้อให้เด็กฟังพร้อมทำท่าทางประกอบ
|
1.รูปภาพ
2.นิทาน
|
1.สังเกตการ.เด็กบอกประโยชน์และโทษของผีเสื้อได้
|
1.คณิตศาสตร์
-พีชคณิต
|
2.เด็กบอกโทษของผีเสื้อได้
|
|
ด้านอารมณ์-จิตใจ
1.การพูดสะท้อนความคิดของตนเอง
|
ขั้นดำเนินกิจกรรม
1.เด็กและครูสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาของนิทาน
2.เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับประโยชน์และโทษของผีเสื้อ
โดยมีรูปภาพประกอบการเรียนรู้
3.เด็กอาสาออกมาเรียงลำดับเล่าเหตุการณืในนิทานให้เพื่อนและครูฟัง
|
|
2.สังเกตการเด็กบอกโทษของผีเสื้อได้
|
|
3.เด็กสนทนาตอบโต้ร่วมกับเพื่อนๆและครูได้
|
|
ด้านสังคม
1.การร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
|
ขั้นสรุป
1.เด็กและครูร่วมกันสนทนาและสรุปเกี่ยวกับโทษและประโยชน์ของผีเสื้อ
|
|
3.สังเกตการเด็กสนทนาตอบโต้ร่วมกับเพื่อนๆและครูได้
|
|
|
|
ด้านสติปัญญา
1.การฟังนิทานเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ
2.การบอกและเรียงลำดับกิจกรรมตามช่วงเวลา
3.การมีส่วนร่วมในการลงความคิดเห็นในข้อมูลอย่างเหตุผล
|
|
|
|
|
ประเมินตน
อาจารย์ อาจารย์ได้พูดอธิบายในการทำแผนใหม่ว่าต้องทำอย่างไรแก้ไขอย่างไร
ตนเอง สนใจและตั้งใจฟังในสิื่งที่อาจารย์กำลังพูด
เพื่อน ให้ความร่วมมือในสิ่งที่อาจารย์กำลังอธิบาย
คำศัพท์
butterfly ผีเสื้อ
body ร่างกาย
mood อารมณ์
social สังคม
intelligence สติปัญญา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่16
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่16 บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่16 วันพุธที่22เมษายนพ.ศ.2563 เวลาเรียน08:00-12:30น. ...
-
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่4 บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่4 วันพุธ ที่29 มกราคม พ.ศ.2563 เวลาเรียน08:00-12:30น. เนื้อหารายที่...
-
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่15 บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่15 วันพุธที่15เมษายนพ.ศ.2563 เวลาเรียน08:00-12:30น. ...
-
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่1 วันพุธ ที่8 มกราคม พ.ศ2563 เวลาเรียน08:30-12:30น. เนื้อหาที่เรียน เนื่องจากวัน...